คำว่า “ดุสิตบุรี”มีในพระไตรปิฎกหรือไม่ ?
คำว่า “ดุสิตบุรี”มีในพระไตรปิฎกหรือไม่ ? หรือพวกวัดพระธรรมกายบัญญัติขึ้นมาล่อชวนคนทำบุญเพื่อให้อยากขึ้นสวรรค์?
นักสร้างบารมีกับพันธกิจยอยกพระพุทธศาสนา
ยอดนักสร้างบามีผู้มีหัวใจโชนนิรันดร์ทุกท่าน เมื่อเทียบเวลาในมนุษยโลกกับดุสิตบุรีช่างเป็นช่วงเวลาที่สั้นเหลือเกิน เวลา ๑ ปีของเรานั้น เท่ากับ ๖ ชั่วโมงในดุสิตบุรี เราสละทิพยสมบัติมาไม่กี่ชั่วโมง เพื่อเอาบารมีกลับไปให้ได้มากที่สุด
วิธีดูว่าวัดพระธรรมกายบิดเบือนคำสอนหรือเปล่า ?
ช่วงที่วัดเป็นข่าวก็มีกระแสโจมตีอย่างเอาเป็นเอาตายว่า วัดพระธรรมกายบิดเบือนคำสอน ซึ่งหากบิดเบือนจริงก็ดูได้ไม่ยากเลย แค่เอาเรื่องนั้นไปเปรียบเทียบกับพระไตรปิฎก เช่น วัดพระธรรมกายพูดถึงคำว่า “ดุสิตบุรี” ก็มีคนโจมตีและมีคนหลงเชื่อกันแบบไม่ลืมหูลืมตาว่า คำนี้ไม่มีในพระไตรปิฎกแต่พอมาค้นในพระไตรปิฎกจริง ๆ ปรากฏว่าคำว่า “ดุสิตบุรี” อยู่หลายแห่ง
ทางกลับสู่ดุสิตบุรีวงบุญพิเศษ
บุคคลปรารถนาเป็นผู้มีอายุยืน ไม่มีโรค มีผิวพรรณผ่องใส มีสวรรค์เป็นที่ไป อยากเกิดในตระกูลสูง และมีความสุขยิ่งๆ ขึ้นไป พึงบำเพ็ญความไม่ประมาท บัณฑิตย่อมสรรเสริญความไม่ประมาทในบุญทุกอย่าง (อัปปมาทสูตร)
วัดพระธรรมกายนอร์เวย์จัดบวชอุบาสิกาแก้ว
วัดพระธรรมกายนอร์เวย์ ประเทศนอร์เวย์ จัดพิธีบวชอุบาสิกาแก้ว
ปรโลกนิวส์ น้องเบล ตอนที่ 3 (ตอนจบ)
เมื่อท่านเทพบุตรใหม่ได้รู้ว่า ที่นี่คือดาวดึงส์ไม่ใช่ดุสิตบุรี เขาก็รู้สึกผิดหวังแต่ก็ไม่ถึงกับมาก และภายในใจก็เกิดคำถามขึ้นมาว่าทำไม เขาถึงไม่ได้กลับไปอยู่ดุสิตบุรีเหมือนคนอื่น
มหาพรหม-มหาบุรุษ
ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ย่อมโคจรส่องทิศให้สว่างอยู่เท่าใด อำนาจของท่านย่อมเป็นไปในพันจักรวาลเท่านั้น ท่านย่อมรู้จักสัตว์ที่เลวและสัตว์ที่ประณีต รู้จักสัตว์ที่มีราคะ และสัตว์ที่ไม่มีราคะ รู้จักจักรวาลนี้และจักรวาลอื่น และรู้จักความมาและความไปของสัตว์ทั้งหลาย
กรณีศึกษาคุณหมอปุ้ยตายแล้วไปไหน ตอนที่ 1
ในช่วงที่อาการป่วยของเธอเริ่มกำเริบหนัก ตัวเธอนอนรักษาตัวอยู่ที่โรงพยาบาล มีความกังวลอยู่ภายในใจลึกๆ เธอพยายามนึกถึงบุญทุกๆ บุญ และมหาปูชนียาจารย์ที่เธอเคารพรักอย่างสูงสุด
กรณีศึกษาคุณหมอปุ้ยตายแล้วไปไหน ตอนที่ 2
พระธรรมกายก็ได้เมตตาไปเยี่ยมท่านเทพธิดาใหม่ถึงตัววิมาน ซึ่งตรงกับช่วงเวลาที่ท่านเทพธิดาใหม่กำลังนั่งหลับตาทำสมาธินึกถึงบุญอยู่พอดี
ดุสิตบุรี
ดูก่อนสารีบุตร ในการให้ทานนั้น บุคคลให้ทานโดยไม่มีหวังผล ไม่มีจิตผูกพันในผลแห่งทาน ไม่ได้ให้ทานด้วยความคิดว่า บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยายของเราเคยให้มาก่อน เราก็ไม่ควรทำให้ประเพณีอันดีนี้ขาดหายไป แต่ให้ทานด้วยคิดว่า เราหุงหากินได้ แต่สมณะพราหมณ์ไม่ได้หุงหา เราแสวงหาทรัพย์ได้ จะไม่ให้ทานแก่สมณะพราหมณ์ผู้ไม่แสวงหาทรัพย์เลี้ยงชีพ ย่อมไม่สมควร บุคคลนั้นให้ทานด้วยอาการอย่างนี้ เมื่อทำกาลกิริยา ละจากโลกนี้ไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหาย แห่งเทวดาในสวรรค์ชั้นดุสิต