สกุณาชาดก ชาดกว่าด้วยที่พึ่งให้โทษ
ในกาลก่อนพระภิกษุเมื่อออกบวชแล้ว ต่างก็มีวิธีในการแสวงธรรมต่างกันออกไป บ้างก็ศึกษาพระธรรมในพระอาราม บ้างก็ในป่าใหญ่ ดังเช่นภิกษุบวชใหม่รูปหนึ่งได้เลือกออกไปปฏิบัติธรรมในป่าแห่งหนึ่ง เมื่อเข้าฤดูแล้งป่าที่เคยชุ่มชื่นก็แห้งแล้งร้อนระอุ เมื่อกิ่งไม้ใบไม้เสียดสีกันมากๆ ก็เกิดเป็นเปลวไฟลุกไหม้ลามมาถึงบรรณศาลาของภิกษุ เมื่อไฟมอดลงบรรณศาลาของภิกษุก็เหลือแต่ซากเถ้าถ่าน ภิกษุจนปัญญาที่จะสร้างศาลาใหม่ได้ จึงออกจากป่าไปขอความช่วยเหลือจากชาวบ้าน
นิทานชาดก 500 ชาติอัมพชาดก ชาดกว่าด้วยบัณฑิตควรพยายามร่ำไป
ในฤดูแล้งที่ยาวนาน แหล่งน้ำดื่มกินเหือดแห้ง ดาบสหนุ่มได้ทำรางไม้และตักน้ำมาเติมจนเต็มเพื่อให้สัตว์ทั้งหลายดื่มกิน จนตัวท่านเองเหนื่อยล้าไร้เรี่ยวแรง สัตว์ทั้งหลายเห็นความลำบากของท่าน จึงพร้อมใจกันนำผลไม้จากป่าเอามาให้ดาบสในทุกๆ วัน
นิทานชาดก 500 ชาติสังกิจจสามเณร สามเณรใจเพชร ผู้ทำให้คนทั้ง 500 คน กลับใจ
สามเณรสังกิจจะบวชในสำนักของพระสารีบุตรเถระ ท่านบรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ด้วยวัย ๗ ขวบในขณะปลงผมบวช ท่านเพียงรูปเดียวได้เป็นที่พึ่งแก่พระภิกษุ ๓๐ รูป ในป่าให้รอดพ้นความตายจากโจรป่า และยังสร้างศรัทธาให้กับโจรห้าร้อยได้บวชในพระพุทธศาสนา
สามเณรอรหันต์นฬปานชาดก ชาดกว่าด้วยการใช้ปัญญาพิจารณา
ครั้งหนึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จไปถึงหมู่บ้านนฬปาน แคว้นโกศล พร้อมด้วยพระภิกษุสามเณรจำนวนหนึ่ง พระภิกษุทั้งหลายได้ลงไปอาบน้ำในสระน้ำ เห็นต้นอ้อขึ้นอยู่มากมาย จึงให้สามเณรไปตัดมาทำกล่องเข็ม.....เมื่อสามเณรตัดต้นอ้อขึ้นมาดู ก็รู้สึกแปลกใจ เพราะต้นอ้อไม่มีปล้องเลย เป็นรูกลวงตลอด จึงพากันไปแจ้งพระภิกษุ พระภิกษุทั้งหลายจึงนำต้นอ้อไปเพื่อกราบทูลถามพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
นิทานชาดก 500 ชาติสรณะอันเกษม
มนุษย์เป็นอันมาก ถูกภัยคุกคามแล้ว ย่อมถึงภูเขา ป่า อาราม และรุกขเจดีย์ว่าเป็นที่พึ่ง สรณะนั่นแลไม่เกษม สรณะนั่นไม่อุดม เพราะบุคคลอาศัยสรณะนั่น ย่อมไม่พ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้ ส่วนบุคคลใดถึงพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ว่าเป็นที่พึ่ง ย่อมเห็นอริยสัจ ๔ (คือ) ทุกข์ เหตุให้เกิดทุกข์ ความก้าวล่วงทุกข์ และมรรคมีองค์ ๘ อันประเสริฐ ซึ่งยังสัตว์ให้ถึงความสงบแห่งทุกข์ ด้วยปัญญาอันชอบ สรณะนั่นแลของบุคคลนั้นเกษม สรณะนั่นอุดม เพราะบุคคลอาศัยสรณะนั่น ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้
ธรรมะเพื่อประชาชนพระพุทธศาสนากับปัญหาสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ ตอนที่ 1
พระมหาดร.สมชาย ฐานวุฑโฒ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ท่านได้เมตตานำเรื่องราวการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยอาศัยหลักทางพระพุทธศาสนาในหัวข้อธรรมที่มีชื่อว่า พระพุทธศาสนากับปัญหาสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติธรรมชาติเนื้อหาจะเป็นอย่างไรนั้นเราไปติดตามชมพร้อมกันเลยค่ะ
Review รายการธุดงค์ธรรมชัยกับการปฏิบัติธุดงควัตร
ธุดงควัตร เป็นพุทธประเพณีที่ถือปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล เนื่องจาก ธุดงค์ คือ บทฝึกตนในการ กำจัดกิเลสทางพระพุทธศาสนาแบบเฉียบพลัน ที่เรียกว่า ธุตังคะ มีทั้งหมด 13 ข้อ โดยผู้ปฏิบัติจะได้ฝึกความ อดทน และใช้ความเพียรสูง กว่าปกติ ซึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้บัญญัติให้การถือธุดงค์เป็นข้อบังคับ คือ ใครจะถือก็ได้ หรือไม่ถือก็ได้ แต่พระองค์ทรงอนุญาตให้ทำได้ เพราะเป็นข้อปฏิบัติที่เกื้อกูลและสนับสนุนให้ บรรลุธรรมง่ายขึ้น
มหาปูชนียาจารย์ภาวะโลกร้อน หวั่นน้ำแข็งกรีนแลนด์ละลาย ทำชาวโลก 500 ล้านชีวิตไร้ที่อยู่
ภาวะโลกร้อน,สาเหตุภาวะโลกร้อน,ผลกระทบภาวะโลกร้อน นักสิ่งแวดล้อมห่วงธารน้ำแข็งกรีนแลนด์-ภูเขาหิมาลัยละลายหมด อาจกระทบชาวโลก 500 ล้านชีวิตต้องไร้ที่อยู่อาศัยเว็บไซต์ฟอร์บส์ รายงานเมื่อวันที่ 6 กันยายนว่า ...
เรื่องเด่นทันเหตุการณ์การสื่อสารไร้สายสมัยพุทธกาล ตอนที่ 1
พวกเราเคยคิดไหมเอ่ยว่า ในครั้งพุทธกาลเนี่ย พระพุทธศาสาแผ่ขยายไปกว้างขวาง คิดเป็นพื้นที่ก็ใหญ่กว่าประเทศไทยปัจจุบันเสียอีก คณะสงฆ์ก็มีอยู่มากมาย เป็นแสน เป็นล้านองค์ กระจายอยู่เต็มแผ่นดิน แล้วในยุคนั้น โทรศัพท์ก็ไม่มี มือถือก็ไม่มี วิทยุก็ไม่มี โทรทัศน์ก็ไม่มี อินเตอร์เน็ตก็ไม่มี แฟ๊กซ์ก็ไม่มี แล้วเวลาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์เทศน์สอนคำสอนขึ้นมาแต่ละข้อๆ เนี่ย แต่ละเรื่อง คณะสงฆ์ที่กระจายเต็มแผ่นดินจะรู้ได้อย่างไร เพราะในยุคนั้นยังไม่มีพระไตรปิฎกเลยใช่ไหม พระไตรปิฎกบังเกิดขึ้นหลังจากพุทธกาล หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว พระอรหันต์ 500 รูป จึงสังคายนา ประมวลคำสอนของพระองค์ทั้งหมดมาบรรจุเป็นพระไตรปิฎก
ข้อคิดรอบตัว