ปุราณอักษรา
เส้นจารเนื้อความพระไตรปิฎกบนแผ่นลานนอกจากจะเป็นหลักฐานแสดงการสืบทอดพุทธธรรมแล้วยังเป็นหลักฐานบ่งบอกถึงวิวัฒนาการอักษรโบราณบนแผ่นดินไทยอีกด้วย
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๑)
ในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงยุคปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาโดยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว
ประวัติพระพุทธศาสนาในประเทศอินโดนีเซีย
ท่านประธานาธิบดี พลเอกซูฮาร์โต ได้ประกาศให้วันวิสาขบูชาเป็นวันหยุดราชการ ซึ่งชาวพุทธอินโดนีเซีย ถือกันว่า ปีพ.ศ.2527 นี้ เป็นปีครบ 500 ปีที่พระพุทธศาสนาเสื่อมหายไปจากอินโดนีเซีย ตามความเชื่อที่สืบต่อกันมา และปีต่อมาทางการอินโดนีเซีย ได้เขียนคำขวัญบนผืนผ้าขาวว่า “ด้วยความศักดิ์สิทธิ์ของวันวิสาขะ ขอให้ประเทศอินโดนีเซียจงรุ่งเรือง”
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
อินโดนีเซียนับเป็นดินแดนสำคัญแห่งหนึ่งในประวัติศาสตร์ของพระพุทธศาสนาเพราะเคยเป็นศูนย์กลางที่สำคัญเมื่อราว 1,000 กว่าปี
พุทธชยันตี 2600 ปีมีความหมายและความสำคัญอย่างไร
หลายคนคงคุ้นหูและได้ยินคนพูดถึงคำว่า พุทธชยันตี กันมากขึ้น เมื่อไปร่วมกิจกรรมสำคัญทางศาสนา แม้สื่อต่างๆ ก็มีข่าวการจัดกิจกรรมการรณรงค์ เพื่อเฉลิมฉลองในวาระที่ครบรอบ พุทธชยันตี 2600 ปี แห่งการตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ฉลองพุทธชยันตี 2,600 ปี แห่งการตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ฉลองพุทธชยันตี 2,600 ปี แห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า คำว่า “พุทธชยันตี” หมายถึง วันครบรอบชัยชนะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เหตุการณ์อันสำคัญยิ่งนี้ได้บังเกิดขึ้นในวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ณควงไม้พระศรีมหาโพธิ์ ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ
วันวิสาขบูชาโลก
งานวันวิสาขบูชาโลก เป็นการจัดงานเฉลิมฉลอง วันวิสาขบูชา วันสำคัญสากลของสหประชาชาติ ภายใต้งานคุณูปการของพระพุทธศาสนาต่อสันติภาพโลก
ช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพม่า ครั้งที่5
พิธีมอบเครื่องอุปโภคบริโภคมีขึ้นเมื่อเวลา 9.30น.ของวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ.2551 ณ ห้องรับรองของมหาวิทยาลัยสงฆ์แห่งชาติ เมืองย่างกุ้ง โดยมีตัวแทนองค์กรชาวพุทธจากนานานาชาติเป็นผู้มอบ ส่วนตัวแทนฝ่ายผู้รับมอบ ได้แก่ หลวงพ่อภัททันตะ กุมาระ อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงฆ์แห่งชาติ เมืองย่างกุ้ง และ ฯพณฯ ตุระอองโก รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการศาสนา พร้อมคณะ งานนี้มีล่ามแปลถึง 3ภาษา คือ ไทย จีน และพม่า
พระพุทธศาสนาในบังคลาเทศ
บังคลาเทศเคยเป็นอู่แห่งพระพุทธศาสนา มีหลักฐานว่า พระพุทธองค์เสด็จมาประกาศพระพุทธศาสนา และเทศน์โปรดพระสาวกในดินแดนนี้ด้วยพระองค์เอง และยังพบหลักฐานเกี่ยวกับวัด, พระพุทธรูป, พระบรมสารีริกธาตุ, จารึกบนศิลา และแผ่นทองแดง ตามพื้นที่ต่างๆในดินแดนนี้ด้วย