อสัญญีสัตตาพรหม
ดูก่อนพราหมณ์ สัตว์ละความยึดถืออัตตาว่าเป็นของเราในสัตว์ทั้งหลายที่เกิดเป็นมนุษย์ เป็นผู้เดียวโดดเด่น น้อมไปในกรุณา เป็นผู้ปราศจากกลิ่นเหม็น เว้นจากเมถุน ตั้งอยู่ในธรรมนี้ และศึกษาอยู่ในธรรมนี้ จึงจะถึงพรหมโลกได้
เวหัปผลาพรหมโลก
ถ้าพวกท่านละกามทั้งหลาย ซึ่งเป็นสิ่งที่ปุถุชนข้องได้แล้ว จงปรารภความเพียรมั่นคง เป็นผู้มีขันติเป็นกำลัง ทั้งมีใจตั้งมั่นเถิด ทางนั้นเป็นทางตรง ทางนั้นเป็นทางยอดเยี่ยม เป็นพระสัทธรรม ที่พวกสัตบุรุษรักษาแล้ว เป็นไปเพื่อการเข้าถึงพรหมโลก
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๗ (ออกบวช)
บุคคลผู้ปีติในธรรม เมื่อดื่มรสอันเกิดแต่วิเวก และรสแห่งความสงบแล้ว ย่อมไม่มีความกระวนกระวาย ไม่มีบาป
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๖ (ขอลาบวช)
ชีวิตมีอายุน้อย ถูกชราต้อนเข้าไป ชีวิตที่ถูกชราต้อนเข้าไปแล้ว ย่อมต้านทานไม่ได้ ผู้เห็นภัยในความตายนี้มุ่งต่อสันติ พึงละโลกามิสเสีย
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๕ (พบมหาพรหม)
บุคคลใด ละบาปกรรมที่ตนทำไว้แล้วได้ด้วยกุศล บุคคลนั้นย่อมยังโลกนี้ให้สว่าง ดุจดวงจันทร์พ้นแล้วจากหมอก ฉะนั้น
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๔ (โชติบาลกุมาร)
ความดี คนดีทำง่าย ความดี คนชั่วทำยาก ความชั่ว คนชั่วทำง่าย ความชั่ว อริยบุคคลทำได้ยาก คนดี หมายถึงผู้ที่มีใจสะอาด บริสุทธิ์ ปราศจากอกุศล มีศีล ๕ เป็นปกติ
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๓ (สนังกุมารพรหม)
ชาวโลกนี้ เป็นผู้มืดบอด มีน้อยคนที่เห็นแจ้งในโลกนี้ น้อยคนที่จะไปสู่สุคติโลกสวรรค์ เหมือนนกน้อยตัวที่รอดพ้นจากตาข่ายมีน้อยฉันนั้น
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๒ (พุทธคุณ ๘ ประการ)
บุคคลผู้ถึงพระรัตนตรัย ชื่อว่าจะเป็นผู้บังเกิดในนรกเป็นต้น ย่อมไม่มี พ้นจากการบังเกิดในอบายแล้ว ยังจะเกิดขึ้นในเทวโลกได้เสวยมหาสมบัติ
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๑ (เทวสันนิบาต)
ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นเหตุแห่งสุข ภิกษุผู้ยินดีในความพร้อมเพรียงกัน ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่เสื่อมจากธรรมอันเกษมจากโยคะ
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 6 ขอลาบวช)