บุญบาปมีจริงหรือไม่
ตักกบัณฑิตชาดก-ชาดกว่าด้วยการข้องแวะกับกิเลสคือบ่อเกิดแห่งทุกข์
พระชาติหนึ่งของพระพุทธองค์บังเกิดขึ้นในที่พักสงฆ์ พระอารามเชตวัน กรุงสาวัตถี ภิกษุหนุ่มรูปหนึ่งเมื่อออกบิณฑบาตได้พบกับสตรีผู้เลอโฉมเข้าในเช้าวันหนึ่งเนื่องจากภิกษุรูปนี้ยังมีพรรษาในเพศบรรพชิตไม่มากนักทำให้ไม่สามารถละกิเลสได้โดยเกิดความต้องจิตพิศมัยในความงามของสตรีนางนั้น
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - ไม่ควรคบผู้อกตัญญู
เวลาเราอยู่ใน สังคม จะคบเพื่อนก็ขอให้คบเพื่อนที่ดี ไม่ใช่สักแต่ว่าคบๆ ไปอย่างนั้น มันจะไม่เป็นผลดีต่อตัวเราเลย หากเราไม่รู้จักคบคน โอกาสที่พลาดพลั้ง คือได้คนอกตัญญูเป็นสหายนั้นมีมาก
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - ศิษย์คิดล้างครู
มุสิละกราบทูลว่า ตนมีความสามารถพอๆ กับอาจารย์ จึงไม่ขอรับเงินเดือนที่ต่ำกว่าอาจารย์ ขอให้พระองค์พระราชทานเท่ากับอาจารย์เถิด พระราชาตรัสว่า เจ้าอย่าพูดอย่างนั้น ธรรมดาอาจารย์ต้องได้รับมากกว่าศิษย์ มุสิละก็ ไม่ยอม จากนั้นก็ออกไปประกาศให้มหาชนไปเป็นสักขีพยาน ในการประลองฝีมือการดีดพิณระหว่างตนกับอาจารย์
มงคลที่ ๑๑ บำรุงบิดามารดา - พญาช้างโพธิสัตว์
ความมืดมิดที่ปกคลุมดวงจิตของคนอกตัญญู มืดยิ่งกว่ากลางคืนที่ไร้แสงจันทร์ เพราะ ยามราตรีแม้ไม่มีแสงจันทร์ ก็ยังมีแสงจากดวงดาว แสงหิ่งห้อย แต่ถ้าเป็นคนอกตัญญูจิตใจมืดบอดแล้ว แม้แสงสว่างแห่งความดีทั้งหลายก็ไม่อาจส่องเข้าไปในจิตใจเขาได้ เขาจะมองไม่เห็นคุณความดีของใครเลย เหมือนเรื่องของนายพรานใจบาป
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - กตัญญู คุณค่าของความเป็นคน
พระราชาทรงดำริว่า ช้างพังนี้มีอุปการะแก่เรามาก จึงพระราชทานเครื่องคชาภรณ์ทุกอย่าง ได้บำรุงอย่างดีเหมือน กับที่พระเจ้าอุเทนทำกับภัททวดีช้างพังฉะนั้น แต่ต่อมาภายหลัง เมื่อช้างพังต้นโอฏฐิพยาธิชราภาพลง พระราชารับสั่งให้ริบทุกสิ่งทุกอย่าง เหมือนทำนองที่ว่า เสร็จนาฆ่าโคถึก เสร็จศึกฆ่าขุนพลนั่นเอง
พุทธสุภาษิตสะกิดใจ "คนชั่วช้า ไม่พ้นตาสังคม"
สพฺพญฺเจ ปฐวี ทชชา, นากตญฺญุมภิราธเย ถึงจะให้แผ่นดินทั้งหมด ก็ยังคนอกตัญญูให้ยินดีไม่ได้
สัปปุริสธรรม 7
ธรรมที่ทำให้คนเป็นสัตบุรุษ หรือ เป็นคนดี มีคุณธรรม เป็นคนเก่ง มี 7 ประการ ด้วยกัน คือ 1. ธัมมัญญุตา เป็นผู้รู้จักเหตุ 2. อัตถัญญุตา เป็นผู้รู้จักผล 3. อัตตัญญุตา เป็นผู้รู้จักตน 4. มัตตัญญุตา เป็นผู้รู้จักประมาณ 5. กาลัญญุตา เป็นผู้รู้จักกาล 6. ปริสัญญุตา เป็นผู้รู้จักชุมชน 7. ปุคคลัญญุตา หรือ ปุคคลปโรปรัญญุตา เป็นผู้รู้จักบุคคล
บุตรที่ดี ย่อมมีความกตัญญูกตเวที
บุตรที่ดี ย่อมมีความกตัญญูกตเวที เป็นองค์ประกอบหนึ่ง กตัญญู หมายถึง เห็นคุณค่าท่าน คือเห็นด้วยใจ ด้วยปัญญา ว่าท่านเป็นผู้มีพระคุณต่อเราอย่างแท้จริง กตเวที หมายถึง การทดแทนพระคุณของท่าน คือ
มงคลที่ ๑๑ บำรุงบิดามารดา - ฝ่าเท้ามารดา หนทางพาสู่สวรรค์
ในสมัยที่พระองค์เสวยพระชาติเป็นช้างเผือก ที่มีความ กตัญญู มีบริวารถึง ๑๐๐,๐๐๐ เชือก สามารถปกครองช้างทั้งหมดให้อยู่กันอย่างมีความสุข มารดาของท่านตาบอด ไม่สะดวกในการหาอาหารด้วยตนเอง ในคืนวันหนึ่ง พญาช้างโพธิสัตว์จึงพามารดาไปอยู่ในถ้ำที่เชิงเขาตามลำพัง คอยหาน้ำ หาอาหารมาเลี้ยงดูแลท่านด้วยความกตัญญู