กาญจนักขันธชาดก ชาดกว่าด้วยธรรมะมีค่าดั่งทองคำ
ในอดีตกาล ณ กรุงพาราณสี มีชายชาวนาผู้ขยันคนหนึ่ง ได้จับจองที่ดินรกร้างว่างเปล่า เพื่อถากถางเป็นที่นาของตน ซึ่งที่ดินแห่งนี้เมื่อในอดีต เคยเป็นที่ตั้งบ้านของเศรษฐีผู้มาก่อน วันหนึ่งขณะที่กำลังไถนาอยู่นั้น ผานไถ ( เหล็กสำหรับสวมหัวหมูเครื่องไถ) ก็ไปสะดุดติดอยู่กับของแข็งๆ ท่อนหนึ่งในดิน เขาจึงเอามือขุดคุ้ยก้อนดินดู ปรากฎเป็นแท่งทองคำขนาดใหญ่ฝังอยู่ในดิน
ถึงพระรัตนตรัยได้ไปสวรรค์
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ครั้งนั้น พระวิปัสสีพุทธเจ้าผู้เสด็จหลีกออกเร้นอยู่ในที่ลับ ได้ทรงพระปริวิตกเช่นนี้ว่า โลกนี้ถึงความยาก ย่อมเกิด แก่ ตาย และเวียนตายเวียนเกิดไม่รู้จบ ก็บุคคลไม่รู้ชัดถึงอุบายเครื่องพ้นทุกข์ คือ ชราและมรณะ การพ้นทุกข์ คือชราและมรณะนี้ จักปรากฏแต่เมื่อไร
มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง
มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย คืออะไร ธรรมยาตรา คำนี้ หลายคนอาจไม่เคยได้ยิน แต่คำนี้มีมานานแล้ว โดยมีวัตถุประสงค์คือ เพื่อปฏิบัติสมาธิในท่าเดิน ฝึกสติ และสืบทอดธรรมเนียมที่มีมาแต่โบราณกาล คือ การเดินจาริก "ธรรมจาริก"
ชฎิลเศรษฐีผู้มีภูเขาทองคำเกิดขึ้นอย่างอัศจรรย์ด้วยบุญที่เคยทำไว้
ภูเขาทองที่เกิดขึ้นกับชฎิลเศรษฐีอย่างอัศจรรย์ เป็นเรื่องจริงที่ปรากฎขึ้นด้วยอำนาจบุญที่เขาได้เคยบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยหม้อดอกไม้ทองคำที่ล้ำค่าและวิจิตรงดงาม
คิดกลับใจก็สายเสียแล้ว
คนพาลมีปัญญาทราม กระทำกรรมชั่วอยู่ก็ไม่รู้สึก ย่อมเดือดร้อนเพราะกรรมของตน เหมือนถูกไฟไหม้ฉะนั้น
ขทิรังคารชาดกว่าด้วยเป็นผู้มีจิตใจมั่นคง
ขทิรังคารชาดก เรื่องราวของเศรษฐีหนุ่มแห่งกรุงสาวัตถีผู้มีใจรักในการทำบุญสร้างทานบารมี เขาโดนขัดขวางการสร้างมหาทานบารมีครั้งใหญ่ในชีวิตโดยพญามาร แต่เขากลับเอาชีวิตเป็นเดิมพันในการสร้างมหาทานครั้งนี้...มาติดตามกันว่า..เขาทำได้หรือไม่?
ทุมเมธชาดก-ชาดกว่าด้วยการใช้อำนาจให้เป็นประโยชน์
วสันตฤดูครั้งนั้น สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จกลับมาพักผ่อนพระวรกาย หลังจากตรากตรำเผยแผ่พระศาสนามาเนิ่นนาน โดยไม่ย่อท้อต่อความทุรกันดารและอุปสรรคใดๆ พระเกียรติคุณนี้เป็นที่สรรเสริญกันอย่างกว้างขวางในหมู่พุทธบริษัท พระพุทธองค์ทรงใช้วาระนั้นปรารภถึงการบำเพ็ญประโยชน์แก่โลก
เทวธรรมชาดก-ชาดกว่าด้วยธรรมของเทวดา
“ดูก่อนภิกษุในศาสนาของเรานี้ ล้วนสรรเสริญคุณของความเป็นผู้มักน้อย สันโดษ รักสงบ เพียรผลาญกิเลสให้สิ้นไปมิใช่หรือ? แล้วทำไมท่านกลับถึงทำสิ่งไม่ควรเช่นนี้เล่า” พระภิกษุเจ้าสำรวย ได้ฟังคำพระพุทธเจ้าแล้ว แทนที่จะสำนึกผิดกลับบันดาลโทสะ ประชดประชัน ทำสิ่งมิควรอีก
อปัณณกธรรมชาดก-ชาดกว่าด้วยข้อปฏิบัติเพื่อป้องกันความผิดพลาด
นครสาวัตถี เนื่องด้วยอัญญเดียรถีย์เหล่านี้ล้วนเป็นคนกลับกลอก พอฟังธรรมก็เกิดศรัทธาประกาศตนเป็นพุทธมามกะ แต่พอพระพุทธศาสดาเสด็จจากไป ก็หันกลับไปนับถือลัทธิเดิมกันทั้งหมดสิ้น
จุลลกเศรษฐี-ชาดกว่าด้วยความฉลาดในการสร้างฐานะ
ในสมัยพุทธกาลขณะที่องค์พระบรมศาสดาทรงสอดส่องพระพุทธญาณ ณ วัดชีวกัมพวัณ กรุงราชคฤห์เพื่อโปรดเวไนยสัตว์ผู้ตกทุกข์ดังที่ทรงบำเพ็ญอยู่เป็นนิจ พลันสายพระเนตรทรงเห็นภิกษุหนุ่มจุลลปัณฐกะที่ท้อถอยสิ้นความเพียร เนื่องด้วยมีสติปัญญาทึบ