บวช บวชพระ อานิสงส์การบวชพระ
สมมติว่าบุตรชายของท่านผู้ใดออกจากครรภ์มารดาวันนั้น บิดามารดาก็จากกัน ลูกกับพ่อแม่ย่อมไม่รู้จักกัน เวลาที่อุปสมบทบรรพชานั้น บิดามารดาไม่ทราบ แต่บิดามารดาย่อมได้อานิสงส์นั้นโดยสมบูรณ์
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - บุพกรรมนําพาชีวิต
เรื่องของ พระเถระรูปหนึ่ง มีนามว่า จุลปันถกเถระ เป็นพระอรหันต์องค์หนึ่งในสมัยพุทธกาล กว่าท่านจะมีวันนี้ได้ ไม่ใช่เรื่องง่ายเลย มีที่มาที่ไปโดยมีบุญและบาปอยู่ฉากหลัง (เพราะท่านเคยว่าผู้อื่นโง่)
งานบวช บวชพระทางแห่งความภูมิใจ
งานบวช ประเพณีบวชพระ การบวชในปัจจุบันแตกต่างจากการบวชในอดีตอย่างไร ทำไมโบราณจึงให้บวชก่อนเบียดหรือบวชก่อนแต่งงาน อายุเท่าไร วัยไหน เหมาะสมที่จะบวชมากที่สุด จุดมุ่งหมายของการบวชคืออะไร ทุกคำถามเรื่องบวช ที่นี่มีคำตอบ
อานิสงส์การบวช กับ สามัญญผล
สาเหตุสำคัญที่มี “โครงการอุปสมบทหมู่เข้าพรรษา ๑๐๐,๐๐๐ รูป ทั่วไทย ปี พ.ศ. ๒๕๕๓” เพราะปัญหาวิกฤตของพระพุทธศาสนา อย่างน้อย ๒ ประการ คือ ๑. จำนวนพระภิกษุลดน้อยลงและมีผู้สนใจเข้ามาบวชใหม่ก็น้อยลงจนบางวัดไม่มีเลย ๒.ส่งผลให้จำนวนวัดร้างมากขึ้นเรื่อยๆ กว่า ๖,๐๐๐ วัด
พิธีลงนามบันทึกความเข้าใจทางวิชาการ ระหว่างวัดพระธรรมกาย กับ 3 สถาบันชั้นนำของโลก
พิธีลงนามบันทึกความเข้าใจทางวิชาการ ระหว่างวัดพระธรรมกายกับ 3 สถาบันชั้นนำของโลกเพื่อค้นคว้าวิจัยคำสอนพระพุทธศาสนายุคดั้งเดิม
ปัจเจกพุทธภูมิ
ผู้หยั่งลงในความเพียรในกาลก่อนย่อมมีอานิสงส์ ๕ ประการเหล่านี้ คือ ๑.ทำให้ได้บรรลุพระอรหัตตผลในปัจจุบัน ๒.ถ้ายังไม่ได้บรรลุพระอรหัตตผลในปัจจุบัน ย่อมให้บรรลุพระอรหัตตผลในเวลาใกล้จะตาย ๓.ถ้าไม่เป็นอย่างนั้น จะเป็นเทวบุตรบรรลุพระอรหัตตผล ๔.ถ้าไม่อย่างนั้น จะเป็นขิปปาภิญญาตรัสรู้ได้เร็ว ในเมื่ออยู่ต่อพระพักตร์พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ๕.ถ้าไม่เป็นอย่างนั้น ในภพสุดท้ายจะเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า
ร่วมบุญกฐิน 2555 กับ www.dmc.tv
กำหนดการพิธีทอดกฐิน ฉลองพุทธชยันตี 2,600 ปี แห่งการตรัสรู้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า วันอาทิตย์ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
ความแตกต่างระหว่าง นิสิต กับ นักศึกษา
พระมหากัจจายนะกับการออกแบบชีวิตให้มีผิวพรรณวรรณะงดงาม
พระมหากัจจายนะเป็นอีกหนึ่งเรื่อง ที่เป็นแบบอย่างในการออกแบบชีวิตของเราให้มีผิวพรรณวรรณะที่งดงาม เพื่อไม่ให้มีปัญหาเรื่องการเหยียดผิว หรือการแบ่งชนชั้นวรรณะที่เป็นปัญหาคู่โลก
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๑ ชนะพกาพรหม)
นักสร้างบารมีต้องมีใจจรดจ่ออยู่กับการสร้างบารมี ไม่ใช่ส่งใจไปในเรื่องอื่นที่ไม่เป็นสาระ อันเป็นเหตุให้อาสวกิเลสเข้ามาอยู่ในใจ ต้องคิดตลอดเวลาว่า ทำอย่างไรบารมีของเราจึงจะเต็มเปี่ยมบริบูรณ์