มงคลที่ ๓๖ จิตไม่โศก - หยุดใจเพื่อให้เป็นไทจากอารมณ์
พระราชาเห็นว่า การเข้าหาสมณะผู้สงบและรับฟังธรรมะจากท่าน คงจะทำให้ใจสงบขึ้นมาได้ จึงเสด็จพระราชดำเนินไปอารามที่พระนารทเถระจำพรรษาอยู่ พระเถระได้แสดงธรรมให้พระเจ้ามุณฑะว่า "ขอถวายพระพรมหาบพิตร ในโลกนี้มีฐานะอยู่ ๕ประการ ที่สมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใครๆในโลกไม่พึงได้ ฐานะ ๕อย่างนั้นคือ
浮城
ท่านได้มาบวชสามเณร 3 ครั้ง คือ ตอนอายุ 9 ปี 12 ปี และ 14 ปี และในการบวชสามเณรครั้งสุดท้ายนี้เอง ท่านได้ตัดสินใจอย่างแน่วแน่ที่จะอยู่ในเพศบรรพชิตตลอดชีวิต และท่านยังบอกอีกว่า “แม้จะอยู่รูปเดียวก็สามารถอยู่ได้ เมื่อบวชเข้ามาแล้วจะไม่กลับออกไปอีก เพราะมีมรรคผลนิพพานเป็นแก่นสาร จะไม่ว้าเหว่ เณรอยากอยู่ที่นี่ อยากบวชปฏิบัติธรรมเละอยากเผยแผ่พระธรรมคำสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า”
อย่าหลอกกันดีกว่า
จงมาดูดัตภาพอันวิจิตร มีกายเป็นแผล อันคุมกันอยู่แล้วกระสับกระส่าย เป็นที่ดำริของชนเป็นอันมาก ไม่มีความยั่งยืนมั่นคง
วัดพระธรรมกายจอร์เจีย จัดกิจกรรมนั่งสมาธิสำหรับชาวท้องถิ่น
วัดพระธรรมกายจอร์เจีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดกิจกรรมนั่งสมาธิสำหรับชาวท้องถิ่น
คณบดีศึกษาศาสตร์ ย้ำสอบตรงต้องได้คนดี – คนเก่ง
ในโลกนี้ เราจะหาอะไร ๆ ให้กับใจที่มีกิเลสราคะ กิเลสโทสะ กิเลสโมหะนั้น ไม่มีที่พอ ได้เท่าไหร่มันก็ไม่พอ
คำคมสอนใจกับธรรมะใสๆ ที่ให้แง่คิดมุมมองดีๆ กับชีวิต สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น
ผู้ขัดขวางการสร้างบารมี
ชนเหล่าใด จักสำรวมจิต ที่ท่องไปในที่ไกลๆ เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีสรีระ มีถ้ำเป็นที่อาศัย ชนเหล่านั้น จะพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร
Negative Thinking ในตัวคุณ บอกอะไร!
หลายครั้งที่มนุษย์เรามักจะโทษสถานการณ์ภายนอกที่ทำให้ตัวเองย่ำแย่มากกว่าจะโทษตัวเอง ไม่ว่าจะโทษคนอื่น โทษการเมือง รัฐบาล หรือแม้กระทั่งโทษ “ดวงชะตา” ที่ร้ายไปกว่านั้น บางครั้งก็โทษ “พ่อ แม่” ที่เลี้ยงเรามา ไม่ดี
การพัฒนาบุคคลากรด้วยปัญญา 3 ฐาน
ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ ได้เสนอวิธีการพัฒนาบุคลากรด้วยหลักปัญญา 3 ฐาน คือ ฐานกาย ฐานใจ ฐานความคิด ซึ่งแท้จริงแล้วนำมาจากหลักในพระพุทธศาสนานั่นเอง คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ในเชิงบริหารนั่นเอง
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - พระปัญญาบริสุทธิ์
ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นบัณฑิต ผู้รู้ ผู้มีปัญญา ต้องดำรงตนเป็นทูตสันติภาพได้ด้วย นอกจากจะมีปฏิภาณที่ยอดเยี่ยมแล้ว ต้องไม่มีอคติความลำเอียง และต้องรู้จักแสวงจุดร่วมสมานจุดต่าง คอยประสานรอยร้าวเหมือนเป็นกาวใจ