ทาสแห่งความสวยงาม
มาร Mara - แปลว่า "ตาย" มารจึงแปลว่า "ผู้ให้ตาย" ในความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า มารเป็นเทวดาจำพวกหนึ่งมีใจบาปหยาบช้าคอยกีดกันไม่ให้ทำบุญ
แข่งบุญสร้างบารมีอานิสงส์มากมาย
คนเราทุกคนต้องอยู่ในศีลในธรรมไม่ควรแสวงหาสิ่งที่เป็นอบายทั้งหลายสิ่งพวกนั้นล้วนแต่เป็นไฟเผาไหม้จิตใจของเรา การอยากได้อยากมีมันคือทุกข์ทุกข์เพราะของสิ่งที่เราแสวงหา
วัดปลอดเหล้า-ปลอดอบายมุข รณรงค์เข้มติดป้ายทุกวัดจังหวัดเลย
Case Study
เรื่องราวของผู้หญิงคนหนึ่ง...เธอมีสามีที่เจ้าชู้ มีภรรยาหลายคน เธอเป็นคนใจบุญ เมื่อได้มาพบกับหมู่คณะก็ได้สร้างบารมีกับหมู่คณะมาโดยตลอด...ลูกชายทั้งสองของเธอมักจะต่อต้านไม่ให้เธอมาวัด แต่เธอก็ยังคงฝากปัจจัยให้เพื่อนๆมาทำบุญให้...เธอป่วยด้วยโรคมะเร็ง และต้องเสียชีวิตในที่สุด...และ อุทาหรณ์ของนักเปิบพิสดาร ที่ชอบ ปิ้งๆ ย่างๆ สัตว์ สดๆเป็นๆ เมื่อกรรมนี้ตามทัน จะส่งผลอย่างไร...
โรคเกี่ยวข้อและกระดูก-หมวดโรคภัยไข้เจ็บ
ประกอบด้วย เกาต์ ปวดกระดูก กระดูกอักเสบ รูมาตอยด์ กระดูกเสื่อม กระดูกงอก กระดูกคอคด กระดูกคอเสื่อม กระดูกหลังคด หมอนรองกระดูกหลังทับเส้น กระดูกหลังเคลื่อน ผ่าตัดกระดูกหลัง กระดูกหลังผุ กระดูกก้นกบไม่สมดุล ข้อเข่าเสื่อม กระดูกขาหัก/อักเสบ และกระดูกขาคด
อย่าหลอกกันดีกว่า
จงมาดูดัตภาพอันวิจิตร มีกายเป็นแผล อันคุมกันอยู่แล้วกระสับกระส่าย เป็นที่ดำริของชนเป็นอันมาก ไม่มีความยั่งยืนมั่นคง
5 กฎเล็กสุขภาพดีสไตล์ชีวจิต
อาทิตตปริยายสูตร
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุเป็นของร้อน รูปทั้งหลายเป็นของร้อน วิญญาณอาศัยจักษุเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยจักษุเป็นของร้อน ความเสวยอารมณ์เป็นสุขเป็นทุกข์ หรือมิใช่สุขมิใช่ทุกข์ ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย แม้นั้นก็เป็นของร้อน
คิดผิดคิดใหม่ได้ (๓)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กาล ๔ อย่างที่บุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ กาล ๔ นี้คือ การฟังธรรมตามกาล การสนทนาตามกาล การสงบตามกาล และการพิจารณาตามกาล กาล ๔ อย่างนี้ อันบุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ
ทำไมบนสวรรค์จึงมีทั้งเทวดาและมาร
เทวดายังมีชั้น จึงไม่แปลกที่มนุษย์มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ ต้องไปแก้ที่เทวดาก่อน ถ้าแก้เทวดาไม่ตก มนุษย์ก็ยังมีชนชั้น ที่เทวดามีชั้นเพราะมีความละอายและเกรงกลัวต่อบาปไม่เท่ากัน