สักกปัญหสูตร ตอนที่ ๓ (ปัญหาจอมเทพ)
โลกมนุษย์ เป็นโลกแห่งการสร้างบารมี เป็นสถานที่ที่ทุกคนสามารถใช้สร้างบารมีได้อย่างเต็มที่ แต่ก็มีไม่มากนักที่จะรู้เป้าหมายของการเกิดมาเป็นมนุษย์ มีเพียงเหล่าบัณฑิตนักปราชญ์เท่านั้น ที่ดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่ประมาท ซึ่งการเกิดมาในภพชาตินี้ของมนุษย์ทุกๆ คน เกิดมาเพื่อสร้างบารมี และต้องใช้ชีวิตในแต่ละวัน
ชีวิตก็เป็นอย่างนี้ ตอนที่ 15
ตัวอย่างของอานิสงส์แห่งบุญโดยย่อ ที่เกิดจากการทุ่มเทสั่งสมบุญสร้างบารมีอย่างเต็มที่เต็มกำลังของอุบาสิกาผู้อุทิศชีวิตให้พระพุทธศาสนา
รัตนชาติและพระรัตนตรัย
ดูก่อนปหาราทะ มหาสมุทรมีรัตนะมากมายหลายชนิด รัตนะในมหาสมุทรนั้น คือ แก้วมุกดา แก้วมณี แก้วไพฑูรย์ สังข์ ศิลา แก้วประพาฬ เงิน ทอง ทับทิม มรกต ฉันใดก็ฉันนั้น ดูก่อนปหาราทะ ธรรมวินัยนี้ก็มีรัตนะมากมายหลายชนิดเหมือนกัน รัตนะในธรรมวินัย คือ สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ ข้อที่ธรรมวินัยนี้มีรัตนะมากมายหลายชนิดนี้ เป็นธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมาในธรรมวินัยนี้ ที่ภิกษุทั้งหลายได้เห็นแล้ว จึงอภิรมย์ยินดียิ่งในศาสนานี้อยู่
ทศชาติชาดก เรื่องเนมิราช ผู้ยิ่งด้วยอธิษฐานบารมี ตอนที่ 14
มาตลีเทพสารถีนำทิพยานแล่นผ่านประตูเทพนคร นำพระเจ้าเนมิราชชมความงามไปเรื่อยๆ พร้อมกับพรรณนาความงดงามตระการตาของดาวดึงส์แดนสวรรค์ไปไม่ขาดสาย
ผู้ชนะสิบทิศ ตอนที่ ๔ ( พลานุภาพแห่งบุญ )
ปวงสัตว์ในโลกผู้อาศัยอาหาร เป็นอยู่ทุกจำพวก ขอจงได้อาหารอันน่าพอใจด้วยใจของเรา เมื่อตั้งจิตอย่างนี้ อาหารทั้งหลายก็บังเกิดขึ้น พระองค์สามารถเลี้ยงคนได้ทั้งโลกเพียงแค่ใจนึกคิดเท่านั้น
สนใจติดตั้งจานดาวธรรม
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (1)
นรชนผู้กำหนัดในกาม ยินดีในกาม หมกมุ่นอยู่ในกาม กระทำบาปกรรมแล้ว ย่อมเข้าถึงทุคติ ส่วนนรชนเหล่าใด ละกามทั้งหลายได้แล้ว เป็นผู้ไม่มีภัยแต่ที่ไหนๆ บรรลุความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งเดียว นรชนเหล่านั้นย่อมไม่ไปสู่ทุคติ
อุบาสิกายอดนักสร้างบารมี ตอนที่ 2
บุคคลท่านนี้ได้ตั้งใจสั่งสมบุญทุกบุญอย่างเต็มที่เต็มกำลัง และทำอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน ตราบจนกระทั่งถึงวินาทีสุดท้ายของชีวิต
ชัยชนะครั้งที่ 7 (ตอนที่ 1 ชนะนันโทปนันทนาคราช)
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจอมมุนี ทรงโปรดให้พระโมคคัลลานเถระพุทธชิโนรส ไปปราบนันโทปนันทนาคราช ผู้มีความรู้ผิด มีฤทธิ์มาก ด้วยวิธีให้แสดงฤทธิ์ ทรมานให้สิ้นฤทธิ์ ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลาย จงเกิดมีแก่ท่าน
สละชีวิตเป็นทาน(ปรมัตถบารมี)
หากว่าปราชญ์พึงเห็นแก่สุขอันไพบูลย์ เพราะยอมเสียสละสุขส่วนน้อย เมื่อผู้มีปัญญาเล็งเห็นสุขอันไพบูลย์แล้ว ก็ควรสละสุขส่วนน้อยเสีย