มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ให้ทานอย่างสัตบุรุษ
ครั้นให้ทานโดยเคารพแล้ว ผลนั้นจะอำนวยให้ เป็นผู้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมากและเป็นผู้มีบุตร ภรรยา ทาส คนรับใช้หรือคนงาน เป็นผู้เชื่อฟัง เงี่ยโสตลงสดับรับคำสั่ง ตั้งใจใคร่รู้ ภรรยาสามีไม่นอกใจซึ่งกันและกัน ข้าทาสบริวารก็ไม่คดโกง ตั้งใจดูแลทรัพย์สมบัติของเจ้านาย เหมือนเป็นของของตนเอง
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - การให้ที่มีผลมาก (๑)
การทำบุญให้ทานที่ถูกหลักวิชา เป็นสิ่งที่สำคัญมาก การให้ที่มุ่งถึงปฏิคาหก ถ้าทักขิไณยบุคคลมีความละเอียดของภูมิธรรมสูงขึ้นไป ก็จะยิ่งมีอานิสงส์เพิ่มมากขึ้น ปัจจุบันพวกเราทั้งหลายนับว่ายังโชคดีอยู่ เพราะเรายังมีภิกษุสงฆ์เป็นเนื้อนาบุญให้ได้ทำทานอยู่
มงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - พูดดีเป็นศรีแต่ตัว
เรื่องราวของนายพรานผู้เป็นบัณฑิต ที่ถูกลูกเศรษฐีทั้ง ๔ คน มาขอชิ้นเนื้อที่ตนหามาได้ โ็ดยที่ลูกเศษฐีจะผลัดกันเข้ามาขอทีละคน ดูว่าใครจะได้เนื้อส่วนไหน แล้วนายพรานได้ใช้วาจาที่ลูกเศรษฐีแต่ละคนพูดนั้นเป็นเครื่องตัดสินว่าจะให้ส่วนใดของชิ้นเนื้อ หลังจากเหตุการณ์นี้ผ่านพ้นไป นายพรานพร้อมครอบครัวถึงกับได้เข้าไปอยู่ที่คฤหาสน์ เพราะด้วยวาจาของตน
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 17
ท้าวสักกเทวราชไม่ตรัสตอบสิ่งใด เมื่อความจริงได้ปรากฏ และบัดนี้มหาชนก็ได้ทราบแล้วว่าพระองค์เป็นใคร จึงทรงกลับร่างเป็นเทพราชา ผู้สง่างามด้วยทิพย์อาภรณ์มีรัศมีเฉิดฉาย ทรงเหาะทะยานขึ้นสู่เบื้องบนแล้วไปปรากฏพระองค์อยู่กลางนภากาศ ตรัสชื่นชมปัญญาบารมีของมโหสถบัณฑิตด้วยพระสุรเสียงก้องกังวาน
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - จนข้ามภพ รวยข้ามชาติ ( ๓ )
พระองค์ทรงรับอาราธนา แล้วประทานบาตรแก่มหาทุคตะ มหาทุคตะรับบาตรไปด้วยความดีใจ เสมือนหนึ่งได้มหาสมบัติจักรพรรดิ น้ำตาไหลอาบแก้ม ด้วยความปลาบปลื้มปีติยินดี แม้พระราชามหาอำมาตย์ จะอ้อนวอน ขอบาตร หรือต่อรองขอซื้อบาตร ด้วยราคาเป็นแสน เขาก็ไม่ยอมขาย เพราะมหาทุคตะเป็นผู้มีปัญญา เห็นว่าบุญเท่านั้นที่จะเป็นสมบัติติดตัวไปได้ ทั้งในภพนี้และภพเบื้องหน้า จึงไม่ยอมยกบุญนี้ให้แก่ใคร
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๓ )
"ระหว่างพระพุทธเจ้ากับท่านอุรุเวลกัสสปะ ใครหนอจะมีอานุภาพมากกว่ากัน" พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงล่วงรู้ความคิดของชาวเมือง จึงตรัสถามท่านว่า "ดูก่อนกัสสปะ ท่านเคยเป็นอาจารย์สั่งสอน หมู่ชฎิลผู้ผ่ายผอมเพราะกำลังประพฤติพรต ท่านเห็นอะไรจึงได้ ละไฟที่เคยบูชาเสียเล่า ท่านเห็นประโยชน์อะไรจึงมาประพฤติพรหมจรรย์กับเรา"
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๒๒ ( ผู้สําเร็จราชการแผ่นดิน )
เมื่อมโหสถบัณฑิตเข้ารับราชการ ผ่านร้อนผ่านหนาวมามาก ผ่านช่วงเวลาที่วิกฤติมาพอสมควร การกระทำของท่านได้พิสูจน์ความเป็นบัณฑิตอย่างแท้จริงให้พระราชาได้เห็น ทำให้พระเจ้าวิเทหราช ทรงมีพระหฤทัยโสมนัส ทรงเลื่อมใส ในคุณสมบัติของมโหสถเป็นอย่างยิ่ง ทรงดำริให้มโหสถบัณฑิติเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 14
“มะม่วงอีกต้นยังคงความสดเขียวเหมือนเดิม ไม่มีใครมารุกราน เพราะไม่มีผล แต่ต้นนี้ถูกหักกิ่งรานใบ เพราะอาศัยผลเป็นเหตุ แม้ราชสมบัตินี้ก็เช่นกับต้นไม้มีผล ส่วนบรรพชาเป็นเช่นกับต้นไม้ที่ไร้ผล ซึ่งไม่เป็นที่ต้องการของใคร ภัยย่อมมีแก่ผู้มีความกังวล แต่ไม่มีแก่ผู้ไม่มีความกังวล ตัวเรานี่แหละ จะเป็นเหมือนต้นไม้ที่ไร้ผล เราจักสละราชสมบัติออกบวช”
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๑ ( สนองราชกิจ )
การปฏิบัติธรรมเป็นหัวใจในการสร้างบารมี ใคร อยากจะประสบความสำเร็จในการปฏิบัติธรรม ก็อย่าดูเบาในเรื่องเล็กๆ น้อยๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของท่านั่ง การหลับตา หรือการทำใจให้สบายๆ ให้ปลอดโปร่ง ปลดปล่อยวางจากภารกิจการงานต่างๆ เป็นต้น โดยเฉพาะเรื่องปลิโพธความกังวลใจในชีวิตประจำวัน เรื่องการทำมาหากิน ครอบครัว ญาติสนิทมิตรสหาย การศึกษาเล่าเรียน หรือแม้แต่การเดินทาง
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๑๐ )
ผู้มีปัญญาจะเร่งทำแต่ความดีเพื่ออนาคตที่ดีและสิ่ง ที่พึงปรารถนา โอกาสในการทำความดีในโลกนี้ไม่ใช่ของหาง่าย เราจึงต้องฉลาดใช้ทุกสถานการณ์ในการสร้างบารมีให้ได้ ให้รู้จักเปลี่ยนวิกฤติมาเป็นโอกาส ให้เปลี่ยนทุกสิ่งทุกอย่างที่ผ่านเข้ามาในชีวิต ให้เป็นบุญให้หมด