มลรัฐออเรกอน จัดปฏิบัติธรรมร่วมกัน 2 ศาสนา
พระอาจารย์จากวัดพระธรรมกายออเรกอน ประเทศสหรัฐอเมริกา นำสาธุชนเมืองแบนดั้น ปฏิบัติธรรม
อย่ามัวลองใจกันอยู่เลย
เธอมีปัญหาเข้ากับใครไม่ได้ตั้งแต่เด็ก ชอบอยู่คนเดียว มีหมาและแมวเป็นเพื่อน …เธอมีความต้องการจะไปนับถือความเชื่ออื่นตั้งแต่เด็ก แต่เมื่อเกิดความสับสนในคำตอบที่ไม่ชัดเจน จนเพิ่มความไม่เข้าใจมากยิ่งขึ้น เธอจึงได้หันเข้าหาชมรมพุทธ และได้มาพบกับหมู่คณะ …ปัจจุบันเธอได้อุทิศตัว เข้ามาช่วยงานพระพุทธศาสนาอย่างเต็มกำลัง…
ความอัศจรรย์ของศูนย์กลางกายฐานที่ 7
ตอนลูกนั่งสมาธิ หลังจากหลับตาเบาๆผ่อนลมหายใจสบายๆไปสักครู่ ลูกก็รู้สึกว่าลมหายใจของลูกเย็นๆไปถึงกลางท้อง พอลมหายใจไปสุดที่กลางท้องแล้ว ภายในท้องของลูกก็ว่างเป็นที่โล่งๆ ไม่มีอวัยวะภายในเลย แล้วลูกก็ถูกดูดลงไปด้านล่างอย่างน่ากลัว
Buddha Augsburg temple and its 1st Hair Cut Ceremony
The 1st Dhammadayada's Hair Cut Ceremony arranged by Buddha Augsburg temple in Germany
กิจกรรมบ้านกัลยาณมิตร ณ ศูนย์ปฏิบัติธรรมไฮดี้แลนด์
ศูนย์ปฏิบัติธรรมไฮดี้แลนด์ ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ จัดกิจกรรมบ้านกัลยาณมิตร และพิธีทอดผ้าป่าครบรอบ 4 ปีการก่อตั้งศูนย์ปฏิบัติธรรม
สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย จัดพิธีเปิดนิทรรศการหลักฐานธรรมกาย
สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย สำนักพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย ได้จัดพิธีเปิดนิทรรศการหลักฐานธรรมกาย ณ มหารัตนวิหารคด 32 วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี
พระไตรปิฎกมรดก ๙ แผ่นดินแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ทรงสถาปนา “กรุงเทพมหานคร” เป็นเมืองหลวงของราชธานี จวบจนปัจจุบันนับเป็นเวลา ๒๐๐ กว่าปี ที่ปวงชนชาวไทยอยู่เย็นเป็นสุขภายใต้พระบรมโพธิสมภารของสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าผู้ครองแผ่นดินทั้ง ๙ พระองค์...
โครงการสานสัมพันธ์พุทธ-อิสลามระดับนานาชาติ
วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล จัดโครงการสานสัมพันธ์พุทธ-อิสลามระดับนานาชาติระหว่างศาสนาพุทธกับอิสลาม เพื่อหาแนวทางอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
การประชุมสัญจรของคณะกรรมาธิการศาสนาฯและกระทรวงวัฒนธรรม
การประชุมสัญจรของคณะกรรมาธิการศาสนาฯและกระทรวงวัฒนธรรม เตรียมเสนอออกกฎกระทรวงเพื่อแก้ปัญหาการตั้งพระพุทธรูปไม่เหมาะสม
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๑)
ในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงยุคปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาโดยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว