ประวัติพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ
ครบรอบ 140 ปี พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) 10 ตุลาคม พ.ศ. 2567 พระมงคลเทพมุนี ท่านเกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2427 ตรงกับวันแรม 6 ค่ำ เดือน 11 ปีวอก ณ หมู่บ้านเหนือ ฝั่งตรงข้ามวัดสองพี่น้อง ต.สองพี่น้อง อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี
บวชสามเณรล้านรูป พร้อมคำอธิษฐานจิตเสียงหลวงพ่อ
สามเณรอุปสมบทอุทิศชีวิต วันวิสาขบูชา พุทธศักราช 2557
โครงการหน่อแก้วเปรียญธรรม ตอน ความสำเร็จของผู้ทุ่มเท
ลูกเณรชื่อ สามเณรวีรพงษ์ บัวศรี มาจาก จ.กระบี่ ครับ ลูกเณรได้มาบวชโครงการหน่อแก้วเปรียญธรรมรุ่นที่ 2 ของโลกครับ
สรุปประเด็นร.ร.อนุบาลฯ วันพฤหัสบดีที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2557
สรุปประเด็นร.ร.อนุบาลฯ วันพฤหัสบดีที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2557 บุพกรรมแหวนสวรรค์ - ตักบาตรสามแผ่นดิน อ.แม่สาย จ.เชียงราย - โครงการสามเณรหน่อแก้วเปรียญธรรม
188 คำสอนยาย ขุมทรัพย์ล้ำค่าจากคุณยายอาจารย์ มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง
เลิศล้ำ 188 คำสอนยาย จาก 14 หมวด คุณยายพูดน้อย แต่ทุกถ้อยคำนั้นล้ำค่า เป็นถ้อยคำแห่งความเมตตา คำสอนของท่าน จึงเป็นความทรงจำอันงดงามที่ขอน้อมนำมาถ่ายทอดสู่ชนทั้งหลายเพื่อประกาศพระคุณของคุณยาย ผู้เป็นมิ่งขวัญ และเป็นยอดกัลยาณมิตร...
Inside ธุดงค์ธรรมชัย ตอน ฝึกตน บำเพ็ญสมณธรรม
โครงการธุดงค์ธรรมชัย เส้นทางมหาปูชนียาจารย์พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ปีที่ 3 พระธุดงค์ธรรมชัยจำนวน 1,129 รูป ได้รับการฝึกอบรมจากโครงการอุปสมบทหมู่ 1 แสนรูป อุปสมบทถูกต้องตามพระธรรมวินัยจากวัดศูนย์อบรมต่าง ๆ ทั่วประเทศ เป็นเวลาอย่างน้อยกว่า 6 เดือน ทุกรูปต่างตั้งใจออกบวชเพื่อกำจัดขัดเกลากิเลสความโลภ ความโกรธ ความหลงให้ออกไปจากใจ
ธุดงค์ธรรมชัย หลวงปู่ทองคำ
พระเดชพระคุณหลวงปู่คือใคร พระเดชพระคุณหลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย พระผู้ปราบมาร คือผู้ที่เอาชีวิตเป็นเดิมพันจนได้เข้าถึงพระธรรมกาย ด้วยการตั้งใจปฏิบัติคันถธุระและวิปัสสนาธุระมาโดยต่อเนื่องไม่ขาดเลยตลอด 11 พรรษา และได้ตั้งสัจจะอธิษฐานว่า "แม้เลือดเนื้อจะ แห้งเหือดหายไป เหลือแต่หนัง เอ็น กระดูก ก็ตามที ถ้านั่งลงไปแล้ว ไม่บรรลุธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงเห็น จะไม่ยอมลุกขึ้นจากที่ จนตลอดชีวิต” ด้วยการเอาชีวิตเป็นเดิมพันในการปฏิบัติธรรมครั้งนั้น ทำให้หลวงปู่ได้บรรลุธรรมเข้าถึงพระธรรมกายภายในได้ในที่สุด
พระโปฐิลเถระ
การเรียนนิกายหนึ่งก็ดี สองนิกายก็ดี จบพุทธวจนะคือพระไตรปิฎกก็ดี ตามสมควรแก่ปัญญาของตนแล้วทรงไว้ กล่าวบอกพุทธวจนะนั้น ชื่อว่า การศึกษาคันถธุระ ส่วนการเริ่มตั้งความสิ้นไป และความเสื่อมไปในอัตภาพ เจริญวิปัสสนาด้วยอำนาจความเพียรพยายามแล้ว บรรลุพระอรหัต ชื่อว่า วิปัสสนาธุระ
เหตุการณ์ในช่วงปลายพุทธกาลที่นำไปสู่การเกิดนิกายเถรวาท
มูลเหตุของความแตกแยกตั้งแต่สมัยปลายพุทธกาลจนถึงการสังคายนาครั้งที่ 1 2 และ 3