มงคลที่ ๒๘ เป็นคนว่าง่าย - การฝึกตน บนเส้นทางอริยะ
ในสมัยพุทธกาล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสถามครูฝึกม้าชื่อ เกสี ที่ไปเข้าเฝ้าพระองค์ว่า “ดูก่อนเกสี ใครๆก็รู้ว่าท่านเป็นครูฝึกม้าฝีมือดีคนหนึ่ง ท่านฝึกม้าอย่างไรเล่า” นายเกสีกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ การฝึกม้าของข้าพระองค์มี ๓วิธี คือ วิธีแรก ข้าพระองค์จะฝึกด้วยวิธีละม่อม ค่อยเป็นค่อยไป วิธีที่สอง ฝึกด้วยวิธีรุนแรง และวิธีสุดท้ายฝึกผสมกันทั้งสองวิธี”
ประมวลภาพธุดงค์ธรรมชัย ปีที่ 2 วันที่ 15 มกราคม พ.ศ.2556
ประมวลภาพธุดงค์ธรรมชัย ปีที่ 2 วันที่ 15 มกราคม พ.ศ.2556 โครงการธุดงค์ธรรมชัย เส้นทางมหาปูชนียาจารย์พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ปีที่ 2 พิธี
ชวนต่างชาติให้สนใจ ทาน ศีล ภาวนา
ตัวลูกเป็นชาวต่างชาติ เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา อยากให้ญาติมิตรหันมาสนใจเรื่อง การรักษาศีล เจริญภาวนา จะต้องทำอย่างไรคะ ?
แพทย์เตือนภัยติดตั้งถังแก๊สในรถเหมือนพกระเบิด3พันปอนด์
สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
5 กฎเล็กสุขภาพดีสไตล์ชีวจิต
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี
บุกห้องทำงาน ซิคเว่ เบรคเก้ เมื่อ "งาน" กับ "พักผ่อน" กลายเป็นเรื่องเดียวกัน
ทำไมจึงรวย ?
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสกับสุภมาณพ โตเทยยบุตรว่า ดูก่อนมาณพ สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้.
เชิญชมนิทรรศการ change the world ที่สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย
บอกเล่าเรื่องราวส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์การสร้างวัดพระธรรมกายและมโนปณิธานของวัดฯ ที่ได้ยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติมานานกว่า 40 ปี