มงคลที่ ๒๖ ฟังธรรมตลอดกาล - ฟังธรรมดับทุกข์
ในสมัยพุทธกาล ท่าน สุปปพุทธกุฏฐิ เป็นคนยากจน ต้องเที่ยวขอทานขออาหารเขากินทุกวัน ทั้งยังป่วยเป็นโรคเรื้อนอีกด้วย วันหนึ่งมหาชนได้มาประชุมรวมกัน เพื่อฟังธรรมจากพระบรมศาสดา สุปปพุทธกุฏฐิเห็นมหาชนมารวมกันจำนวนมาก จึงคิดว่า คงจะมีการแจกอาหารเป็นแน่ จึงไปที่นั่นเพื่อจะได้รับแจกอาหารบ้าง แล้ววันนั้นบุญเก่าที่ท่านเคยทำมาในอดีต ก็มาส่งผลพอดี
เพื่อนพ้องพี่น้องกัน
ท่านทั้งหลายจงเห็นการทะเลาะวิวาทกันว่า เป็นเหตุแห่งภัย และเห็นการไม่วิวาทกันว่า เป็นความเกษมสำราญแล้ว พึงเป็นผู้พร้อมเพรียง มีความประนีประนอมกันเถิด นี้เป็นพระพุทธานุสาสนี
กำหนดวันสอบธรรมสนามหลวง
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง ได้ประกาศกำหนดการสอบธรรมสนามหลวง ในระดับชั้นนักธรรมตรี โท เอก และธรรมศึกษาตรี โท และเอก ในระหว่างเดือนตุลาคม ถึง พฤศจิกายน 2553
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - สิ่งที่พึงพิจารณาบ่อยๆ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงมีพุทธ ประสงค์ให้พุทธบริษัททั้งหลาย หมั่นเจริญมรณานุสติอยู่เนืองๆ ชนิดทุกลมหายใจ เข้าออก เพราะชีวิตมนุษย์นั้นสั้นยาว เพียงแค่ลมหายใจเข้าออกที่ปลายจมูกเท่านั้น ไม่ได้ยืนยาวอย่างที่เรานึกคิดกันเอง การพิจารณาถึงความตายนี้ เป็นสิ่งที่พวกเราต้องพิจารณาโดยแยบคาย พิจารณาบ่อยๆ
มหาสมัยสูตรครั้งที่ 3 (ตอนภพมารสะดุ้ง)
เราจะบอกมลทินอันยิ่งกว่ามลทินนั้น อวิชชาเป็นมลทินอย่างยิ่ง ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลาย เมื่อละมลทินนั้นได้แล้ว ย่อมเป็นผู้หมดจด
อานิสงส์เจริญเมตตา
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย 11 ประการ คือ 1. หลับก็เป็นสุข 2. ตื่นก็เป็นสุข.....
วัดพระธรรมกาย จัดสอบธรรมสนามหลวง ชั้นโท-เอก
พระเดชพระคุณพระราชปริยัตยาภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดปทุมธานี เมตตามาเยี่ยม พร้อมทั้งให้กำลังใจพระภิกษุ สามเณร ที่ร่วมสอบธรรมสนามหลวง ชั้นโทและเอก
พิธีปฐมนิเทศเปิดเรียนนักธรรม ปีพุทธศักราช 2561
โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย ได้จัดพิธีปฐมนิเทศเปิดเรียนนักธรรมตรี โท เอก และวิชาพื้นฐาน สามเณรนวกะ 1-2-3 ประจำปีการศึกษา 2561
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ทำคุณบูชาโทษ
การบำเพ็ญประโยชน์ โดยไม่ฉลาดในประโยชน์ จะนำความสุขมาให้ไม่ได้เลย ผู้มีปัญญาทรามย่อมพร่าประโยชน์ ดุจลิงเฝ้าสวนฉะนั้น (ขุ.ชา.เอก.๒๗/๑๕)
พุทธปาฏิหาริย์ ๓,๕๐๐ อย่าง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลายมีประมาณเท่าใด ไม่มีเท้าก็ดี ๒ เท้าก็ดี ๔ เท้าก็ดี มีเท้ามากก็ดี มีรูปก็ดี ไม่มีรูปก็ดี มีสัญญาก็ดี ไม่มีสัญญาก็ดี มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า บัณฑิตกล่าวว่าเป็นยอดของสัตว์เหล่านั้น