ขอเรียนเชิญทุกท่านร่วมพิธีตักบาตรพระ 365 รูป ร.ร.สังข์อ่ำวิทยา
ขอเรียนเชิญพุทธศาสนิกชนผู้มีจิตศรัทธา และท่านผู้ปกครองนักเรียนทุกท่าน ร่วมจรรโลงอริยะประเพณีไทยอันงดงาน ด้วยการตักบาตรข้าวสารอาหารแห้ง วันศุกร์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2559 เวลา 6.30 น. ณ โรงเรียนสังข์อ่ำวิทยา ถ.สีขาว ต.คลองสอง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี
บวชสามเณรปิดภาคเรียน ยุวพุทธศาสตร์ รุ่น 5
บวชเรียนพุทธศาสตร์ ปริยัติสามัญ รับสมัครอายุ 11 - 13 ปี อบรมระหว่าง 19 มีนาคม - 29 เมษายน พ.ศ.2560 ณ มหารัตนวิหารคด คอร์ 13 รับสมัครและสอบสัมภาษณ์ ห้อง SPD 15E วันที่ 5, 11, 19, 26 ก.พ. และ 5,12 มี.ค. 2560 สอบถามโทร. 08-4677-8990 , 085-054-6030 หรือทุกวันอาทิตย์ที่ โอ26 สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย
พระไตรปิฎกมรดก ๙ แผ่นดินแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ทรงสถาปนา “กรุงเทพมหานคร” เป็นเมืองหลวงของราชธานี จวบจนปัจจุบันนับเป็นเวลา ๒๐๐ กว่าปี ที่ปวงชนชาวไทยอยู่เย็นเป็นสุขภายใต้พระบรมโพธิสมภารของสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าผู้ครองแผ่นดินทั้ง ๙ พระองค์...
กลอนแสนอาลัย "ในหลวงของปวงชน" รัชกาลที่ 9
แผ่นดินร่ำไห้ แสนอาลัย "ในหลวงของปวงชน" กวีวรรณ ประพันธ์กลอนน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๘)
จากฉบับที่แล้ว ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกถึงประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาที่สำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของประเทศไทย นั่นก็คือพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ในยุคต้นรัตนโกสินทร์ คือ รัชกาลที่ ๑ ที่...
พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ณ โรงพยาบาลเมานท์ออเบอร์น รัฐแมสซาชูเสตต์ ประเทศสหรัฐอเมริก
วัดพระธรรมกายชอบบอกบุญถี่ๆ แถมยังเร่งให้ทำบุญก่อนจริงหรือ ? ถือว่าสอนผิดหรือไม่ ?
ก่อนจะตอบคําถามเหล่านี้ อยากให้เราลองศึกษาประวัติของพระอัญญาโกณฑัญญะ ผู้เป็นเลิศในด้านการบรรลุธรรมก่อนและได้บวชก่อนใคร ว่าท่านสร้างเหตุมาอย่างไรถึงได้เป็นเลิศด้านนี้
วัดพระธรรมกายสร้างใหญ่ผิดหลักคำสอนพระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรือไม่
ก่อนจะสรุปว่า “การสร้างวัดใหญ่” ผิดหรือถูก ก็อยากให้ลองเปิดพระไตรปิฎกศึกษาประวัติการสร้างที่ประทับของพระบรมศาสดาและการสร้างวัดในสมัยพุทธกาลกันเลยดีกว่า จะได้กระจ่างชัดว่า..วัดพระธรรมกายสร้างใหญ่ผิดหรือไม่ ?
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม
วิบากกรรมออนไลน์ ดิ่งลงขุมลึกกว่าที่คาดคิด
ในยุคปัจจุบัน มีคนจำนวนไม่น้อยเข้าใจว่า..การด่าว่าพระภิกษุสงฆ์เป็นสิ่งไม่ผิดซ้ำร้ายยังคิดว่า..เป็นการช่วยพระพุทธศาสนาอีกด้วย เพราะเท่ากับเป็นการกำจัดพระไม่ดีให้หมดไป!