เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๒ )
บุคคลให้ทานไม่ได้เพราะเหตุผล ๒ ประการ คือ ความ ตระหนี่ และความประมาท บัณฑิตผู้รู้แจ้ง เมื่อต้องการบุญพึงให้ทาน คนตระหนี่กลัวความอดอยากยากจน เพราะความกลัวจนนั่นแหละ จะเป็นภัยแก่ผู้ไม่ให้ และจะกลับมามีผลต่อคนพาลผู้หลงผิด ฉะนั้น บัณฑิตพึงครอบงำมลทิน กำจัดความตระหนี่แล้วรีบให้ทาน เพราะบุญเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 12
พระมหาชนกโพธิสัตว์ได้ทรงผ่านบดทดสอบ และสามารถไข้ปัญหาแห่งขุมทรัพย์ได้ครบทั้ง ๑๖ ข้อ ได้ครองราชสมบัติด้วยพระอัจฉริยภาพอย่างเต็มภาคภูม
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - พฤติกรรมที่ชักนําให้เสื่อม
เรื่องนี้มีข้อคิดหลายอย่าง ทั้งเรื่องกฎ แห่งกรรม ความสำคัญของใจในช่วงสุดท้ายตอนศึกชิงภพ และเรื่องความฉลาดในการสอบสวน จนสามารถรู้ถึงเหตุที่แท้จริงจากผลที่เกิดขึ้น เรื่องการเป็นคนช่างสังเกต รู้ว่าใครเป็นพาล เป็นบัณฑิต เป็นมิตรหรือศัตรู
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 3
ท่านเสนกะนิ่งตรวจดูทิศอันเป็นมงคลอยู่ครู่หนึ่ง ด้วยกำลังคำนวณตามพยากรณ์ศาสตร์ที่ตนได้ร่ำเรียนมา ไม่ช้าก็กราบทูลทำนายประหนึ่งเห็นด้วยตาทิพย์ว่า“วันนี้เป็นวันที่บัณฑิตนั้นถือปฏิสนธิในครรภ์มารดา หรือมิฉะนั้นก็คงเป็นวันที่เขาคลอดจากครรภ์มารดา พระเจ้าข้า”
มงคลที่ ๑๑ บำรุงบิดามารดา - พระในบ้าน
ข้าพเจ้าจักเพลิดเพลิน และปรารถนาความเจริญแก่บุตรเหล่าใด บุตรเหล่านั้นถูกภรรยา ยุยง รุกรานข้าพเจ้าเหมือนสุนัขรุกรานสุกร ฉะนั้น บุตรเหล่านั้น เป็นอสัตบุรุษ แต่มาเรียกข้าพเจ้าว่า พ่อ
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 39
ท้าวเธอจึงตรัสว่า “ก่อนนั้นเราได้ฟังกิตติศัพท์ของเธอแล้ว ก็เกิดความเลื่อมใส ยิ่งได้เห็นท่วงทีกิริยาวาจาของเธอ ก็ดูน่ารักน่าชื่นใจไปเสียทั้งหมด แต่ครั้นได้เห็นการกระทำของเธอเมื่อสักครู่ ความชื่นใจที่เคยมี ก็พลันสิ้นไปชั่วพริบตา บอกตามตรงว่า เราทั้งเสียใจและผิดหวังในตัวเธอมาก”
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 125
พระเจ้าจุลนีสดับคำทูลนั้นแล้ว ก็ตรัสด้วยความกังวลพระหฤทัยว่า “ก็ เราจะทำอย่างไรได้เล่า ท่านอาจารย์ เพราะมโหสถได้เตรียมการป้องกันบ้านเมืองไว้อย่างเข้มแข็งถึงเพียงนี้ ไม่ว่าเราจะโจมตีด้วยวิธีใดๆ ก็ยังไม่เป็นผล”
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 126
จากตอนที่แล้ว พราหมณ์เกวัฏได้กราบทูลอุบายของตนแด่พระเจ้าจุลนีว่า “ขอเดชะ เลศที่จะกระทำนี้เรียกว่า ธรรมยุทธ์ คือ การรบที่ไม่จำเป็นต้องใช้อาวุธเลย เพียงให้ราชบัณฑิตของพระราชาทั้งสองพระนครได้มาพบกัน ณ สถานที่แห่งใดแห่งหนึ่ง แต่มีเงื่อนอยู่ว่า ในบัณฑิตทั้งสองนั้น หากผู้ใดไหว้ก่อน ผู้นั้นก็ถือว่าเป็นผู้แพ้ และความแพ้ของผู้นั้นก็ถือเป็นความพ่ายแพ้ของกองทัพฝ่ายนั้นด้วย พระพุทธเจ้าข้า”
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 187
พระเจ้าจุลนีตรัสว่า “ขอบใจเธอมาก พ่อบัณฑิต ฉันจะรอ ฝากเธอช่วยนำบรรณาการเหล่านี้ไปมอบให้ลูกหญิงของฉันด้วย” ตรัสดังนี้แล้ว ก็ทรงฝากทาสชายหญิง โค กระบือ ทองเงิน ผ้า ช้าง ม้า และรถที่ตกแต่งอย่างดี ให้มโหสถนำไปพระราชทานเป็นของกำนัลแด่พระราชธิดาปัญจาลจันที จากนั้นก็รับสั่งให้ตระเตรียมโภชนะสำหรับบำรุงเลี้ยงกองรถและกองราบอย่างอิ่มหนำสำราญ
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - หยุดใจเป็น สำเร็จทุกอย่าง
หลังจากพุทธปรินิพพานได้ไม่กี่วัน พระมหากัสสปเถระ และเหล่าภิกษุสงฆ์ ได้มีความคิดเห็นตรงกันว่า จะสังคายนารวบรวมพระธรรมคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อให้พระพุทธศาสนาดำรงคงอยู่คู่โลกต่อไปอีกยาวนาน จึงได้ประชุมผู้รู้ที่เป็นพระอรหันต์ และจะขาดพระอานนทเถระไม่ได้โดยเด็ดขาด