การนั่งสมาธิกับการพัฒนาของสมอง ตอนจบ
งานวิจัยวิทยาศาสตร์ทางสมองแสดงให้เห็นว่า โดยการทำภาวนา การฝึกสมาธิ การเจริญสติ ช่วยพัฒนาสมองของเราได้ ซึ่งในเรื่องนี้ ดร.ริค แฮนซัน (Rick Hanson,Ph.D) นักวิทยาศาสตร์ด้านประสาทจิตวิทยา (Neuropsychologist) ได้เขียนไว้ในหนังสือ สมองพุทธะ (Buddha’s Brain) อันโด่งดัง
ภาษาอังกฤษวันละคำ What are friends for?
ภาษาอังกฤษวันละคำ What are friends for? (ว็อท อาร์ เฟรนด์ส ฟอร์) จะมีเพื่อนไว้ทำไมหละ?
Positive Thinking
คิดดี มีสุข ย่อมเป็นกำไรชีวิต อย่างน้อยก็ก่อให้เกิดอารมณ์ที่แช่มชื่น เบิกบาน มีความหวัง มีพลังในการสู้ชีวิตต่อไป
กรรมของคนผิดคำสาบาน
บุคคลผู้ทำบาปย่อมเศร้าโศกในโลกนี้ ย่อมเศร้าโศกในโลกหน้า ย่อมเศร้าโศกในโลกทั้งสอง บุคคลผู้ทำบาปนั้นย่อมเศร้าโศก ครั้นละโลกไปแล้ว เห็นกรรมที่เศร้าหมองของตนย่อมเดือดร้อน
วัดพระธรรมกายลอนดอน จัดสอนสมาธิชาวท้องถิ่น
วัดพระธรรมกายลอนดอน ประเทศอังกฤษ ได้จัดสอนสมาธิสำหรับชาวท้องถิ่น
“สัมมา อะระหัง” คือ ยาวิเศษของชีวิต
คนโบร่ำโบราณกล่าวไว้ว่า “สวดมนต์เป็นยาทา ภาวนาเป็นยากิน” ซึ่งเป็นคำที่ถ่ายทอดมา จากประสบการณ์จริงในการประพฤติปฏิบัติของผู้คนในอดีต ซึ่งก็เป็นผลเช่นนั้นจริง ๆ แม้แต่ ในปัจจุบัน การภาวนาก็ยังมีผลอันมหัศจรรย์แก่ชีวิตมนุษย์ราวกับได้กินยาแสนวิเศษกันเลยทีเดียว ดังเรื่องราวตัวอย่างของนักภาวนาเหล่านี้...
จริงหรือไม่ที่ยาเสพติดช่วยให้ศิลปินสร้างสรรค์ผลงานได้ดี
ผลของยาเสพติดนั้นก่อให้เกิดปัญหาขึ้นมากมาย ทั้งปัญหาอาชญากรรม ปัญหาสังคมต่างๆ ที่รุนแรงตามมาทีหลัง เคยมีศิลปินหลายคนใช้ยาเสพติด จนทำให้เกิดโทษภัยต่างๆ ตามมา
มงคลที่ ๓๓ เห็นอริยสัจ - ต่างวิธีการ แต่เป้าหมายเดียวกัน
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ได้กล่าวถึงวิธีการทำใจให้สงบไว้ ๔๐วิธี ซึ่งทั้งหมดนั้น เราสามารถเลือกปฏิบัติวิธีการใดวิธีการหนึ่ง สองหรือสามวิธีการพร้อมกันก็ได้ ตามแต่จริตอัธยาศัยของแต่ละคน แต่สุดท้ายก็มีเป้าหมายเดียวกัน คือ ต้องการความสงบของใจ เมื่อใจรวมหยุดนิ่ง ก็จะดิ่งเข้าสู่กลางภายในตรงศูนย์กลางกายฐานที่๗ และจะได้ตรัสรู้ธรรมไปตามลำดับ
การนั่งสมาธิแม้ว่าไม่สามารถทำใจให้นิ่งได้จะมีอานิสงส์บ้างไหม
ตอนนั่งสมาธิ แม้กำหนดนิมิตไม่ได้ แต่รักษาศีลได้ครบก็ได้บุญ ถ้ากำหนดนิมิตได้ ทำใจให้นิ่งได้ก็จะได้บุญมากขึ้น แต่ถึงจะกำหนดไม่ได้ ก็ได้บุญไปตามส่วน ที่ไม่ได้เลยเป็นไม่มี
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 92 การสร้างบารมีสิบทัศในเชิงปฏิบัติ
การสร้างบารมี 10 ทัศทั้ง 3 ระดับในเชิงปฏิบัติ สามารถแบ่งออกเป็น 10 ประการ ซึ่งพระโพธิสัตว์จะต้องสร้างบารมีอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน