อนาถบิณฑิกเศรษฐี (ทรัพย์หมด แต่ไม่หมดศรัทธา)
บัณฑิตทั้งหลายย่อมไม่ประพฤติกรรมอันเป็นบาป เพราะเหตุแห่งความสุขของตน ถูกทุกข์กระทบแล้ว แม้จะพลาดพลั้งลงไป ก็สงบอยู่ได้ ไม่ละทิ้งธรรม เพราะความรัก และความชัง
ชีวิตของนักสร้างบารมี
นรชนเหล่าใด คบหาสัตบุรุษผู้มีปัญญาดี ได้รับยกย่องว่าเป็นนักปราชญ์ ชนเหล่านั้นตั้งศรัทธาไว้ในพระสุคตเป็นเค้ามูลแล้ว ย่อมไปสู่เทวโลก หรือพึงเกิดในตระกูลสูงในโลกนี้ ชนเหล่านั้นเป็นบัณฑิต ย่อมบรรลุนิพพานโดยลำดับ
หนวดเต่า เขากระต่าย
การบรรพชากระทำได้ยากแท้ การอยู่ครองเรือนเป็นเรื่องยาก ธรรมะเป็นของลึก การหาทรัพย์เป็นของยาก การเลี้ยงชีพของเราด้วยปัจจัย ๔ ตามมีตามได้ เป็นการยาก ผู้มีปัญญาควรคิดถึงอนิจจตาอยู่เนืองๆ
ครั้งหนึ่งในชีวิต..เราต้องเป็นประธานกองกฐินให้ได้
บางคนบอกว่า.. "ขอให้มีเงินเถิด จะทอดกฐินเมื่อไรก็ทอดได้" อีกทั้งยังบอกต่อว่า.. "เรารวยและมีศรัทธาจะกลัวอะไร ถ้าเราเตรียมปัจจัยและผ้าไตรไว้ให้มาก ๆ อย่างไรที่วัดเขาก็ต้องรับเราเป็นประธานกองกฐินอยู่ดี" แต่เชื่อไหม?...ความคิดเช่นนี้ถือเป็นความเข้าใจที่ผิดมาก!!!
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (๒)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทางสุดโต่งสองอย่างบรรพชิตไม่ควรเสพ คือ การทรมานตัวเองให้ลำบากและการประกอบพัวพันในกาม
แข่งบุญแข่งบารมี
มีภาษิตกล่าวว่า “แข่งเรือแข่งพาย พอแข่งได้ แต่แข่งบุญแข่งบารมี แข่งกันไม่ได้” เป็นความหมาย ให้อ่อนน้อมถ่อมตน มิให้ตีตนเสมอผู้หลักผู้ใหญ่
ศรัทธาธรรม ย้ำคำอธิษฐาน จารพระคัมภีร์
การอธิษฐานจิต คือ การตั้งผังสำเร็จขึ้นมาในใจ โดยอาศัยผลของบุญที่ทำในแต่ละครั้งมาเป็นพลวปัจจัยส่งเสริมให้สิ่งที่ตั้งใจไว้ดีแล้วสำเร็จสมปรารถนา เพราะเมื่อประกอบความดีแม้เพียงเล็กน้อย บุญย่อมส่งผลแก่ผู้กระทำไม่ว่าผู้นั้นจะตั้งจิตปรารถนาหรือไม่ก็ตาม แต่หากไม่อธิษฐานจิตกำกับให้ดี
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 9 การสร้างมหาทานบารมีของสุรุจิพราหมณ์ (3)
เมื่อพระมังคลสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเห็นเหตุการณ์ในอนาคตแล้ว พระพุทธองค์จึงทรงประทานพุทธพยากรณ์แก่สุรุจิพราหมณ์ ในกาลนั้นเอง
ทศชาติชาดก เรื่องสุวรรณสาม ผู้ยิ่งด้วยเมตตาบารมี ตอนที่ 3
วันแล้ววันเล่าที่ภิกษุผู้มีความกตัญญูได้ปรนนิบัติเลี้ยงดูบิดามารดาเป็นอย่างดีเช่นนี้ ไม่เคยให้โยมทั้งสองได้อด แต่สำหรับท่านเองนั้นมักจะอดอาหารเป็นส่วนใหญ่ เพราะเมื่อออกบิณฑบาตแสวงหาภิกษาหารมาเพื่อตนเอง ก็มักจะออกเมื่อยามสายมากแล้ว ส่วนมากมักจะได้เพียงบาตรเปล่ากลับสู่วิหาร มีน้อยวันเหลือเกินที่ได้ฉันจนอิ่ม
อาทิตตปริยายสูตร
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุเป็นของร้อน รูปทั้งหลายเป็นของร้อน วิญญาณอาศัยจักษุเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยจักษุเป็นของร้อน ความเสวยอารมณ์เป็นสุขเป็นทุกข์ หรือมิใช่สุขมิใช่ทุกข์ ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัสเป็นปัจจัย แม้นั้นก็เป็นของร้อน