มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - ปัญญาพิชิตปัญหา
พระโพธิสัตว์ได้ใช้สติปัญญา แก้ข้อครหาของอำมาตย์ทั้ง ๕ คน เช่น เรียกให้อุจเฉทวาทีอำมาตย์เข้ามา พลางกล่าวว่า "ท่าน กล่าวว่า ทานที่บุคคลให้แล้วไม่มีผล และยังสำคัญว่า สัตว์ทั้งหลายย่อมขาดสูญในโลกนี้เท่านั้น สัตว์ผู้ไปสู่ปรโลกไม่มีเลย แล้วมาหัวเราะเยาะเราทำไม"
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - สั่งสมบุญเพื่อตนเอง
เทพธิดาผู้ได้สั่งสมบุญไว้อย่างดีแล้วในครั้งที่เป็นมนุษย์ ได้เป็นผู้สำรวมด้วยดีในศีล ที่ได้สมาทานไว้ เป็นผู้งดเว้นจากปาณาติบาต เว้นห่างไกลจากอทินนาทาน จากการประพฤติผิดในกาม เว้นขาดจากมุสาวาท และจากการดื่มน้ำเมา เป็นผู้ยินดีในสิกขาบททั้ง ๕ และมีดวงตาเห็นธรรมแทงตลอดในอริยสัจ แล้วผลบุญจะเป็นเ่ช่นไรนั้น
มงคลที่ ๔ อยู่ในถิ่นที่เหมาะสม - ทําสิ่งแวดล้อมให้เป็นปฏิรูปเทส ( ๓ )
โดยปกติเมื่อพระสัมมา สัมพุทธเจ้าทรงแสดงธรรม แม้คนฟังยืนอยู่ข้างหน้า ข้างหลังหรืออยู่เลยไปร้อยจักรวาล พันจักรวาลก็ตาม อยู่ในรูปภพหรืออรูปภพก็ตาม ต่างพากันกล่าวว่า "พระศาสดาทอดพระเนตรดูเราคนเดียว ทรงแสดงธรรมโปรดเราคนเดียว" นี้คืออานุภาพแห่งองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเรา
มงคลที่ ๔ อยู่ในถิ่นที่เหมาะสม - ทําสิ่งแวดล้อมให้เป็นปฏิรูปเทส ( ๑ )
นางตั้งใจทำหน้าที่ของศรี สะใภ้ที่ดีได้ครบสมบูรณ์ทุกอย่าง แต่สิ่งหนึ่งที่นางปรารถนามากๆ และยังไม่มีโอกาสทำ คือ การถวายสังฆทานแด่ภิกษุสงฆ์ เพราะตระกูลฝ่ายสามีเป็นมิจฉาทิฏฐิ ไม่มีความศรัทธาในบวรพระพุทธศาสนา แต่ไปศรัทธาในลัทธิ ชีเปลือยด้วยความเข้าใจผิดว่า ชีเปลือยเหล่านั้นเป็นพระอรหันต์
ทศชาติชาดก เรื่องสุวรรณสาม ผู้ยิ่งด้วยเมตตาบารมี ตอนที่ 3
วันแล้ววันเล่าที่ภิกษุผู้มีความกตัญญูได้ปรนนิบัติเลี้ยงดูบิดามารดาเป็นอย่างดีเช่นนี้ ไม่เคยให้โยมทั้งสองได้อด แต่สำหรับท่านเองนั้นมักจะอดอาหารเป็นส่วนใหญ่ เพราะเมื่อออกบิณฑบาตแสวงหาภิกษาหารมาเพื่อตนเอง ก็มักจะออกเมื่อยามสายมากแล้ว ส่วนมากมักจะได้เพียงบาตรเปล่ากลับสู่วิหาร มีน้อยวันเหลือเกินที่ได้ฉันจนอิ่ม
ทศชาติชาดก เรื่องสุวรรณสาม ผู้ยิ่งด้วยเมตตาบารมี ตอนที่ 1
เขามีชีวิตสะดวกสบายอยู่บนปราสาท ไม่ต้องทำงานอะไรด้วยมือของตนเลย วันหนึ่งเขาได้เกิดความคิดว่า “มหาชน เดินผ่านถนนหน้าบ้านเราไปสู่อารามเพื่อฟังธรรมทุกวัน เราแม้จะอยู่ใกล้เพียงแค่นี้เอง แต่ก็ไม่เคยได้ไปเลย วันนี้เราจะไปวัดไปฟังธรรมเหมือนพวกเขาบ้าง”
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๒ )
บุคคลให้ทานไม่ได้เพราะเหตุผล ๒ ประการ คือ ความ ตระหนี่ และความประมาท บัณฑิตผู้รู้แจ้ง เมื่อต้องการบุญพึงให้ทาน คนตระหนี่กลัวความอดอยากยากจน เพราะความกลัวจนนั่นแหละ จะเป็นภัยแก่ผู้ไม่ให้ และจะกลับมามีผลต่อคนพาลผู้หลงผิด ฉะนั้น บัณฑิตพึงครอบงำมลทิน กำจัดความตระหนี่แล้วรีบให้ทาน เพราะบุญเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๑ )
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุนี้เมื่อชาติก่อนเคยเป็นผู้ไม่ให้ทานมาก่อน เป็นผู้ตระหนี่เหนียวแน่น แม้หยาดน้ำมันเพียงเล็กน้อยก็หวงแหนไม่ยอมให้ใคร ต่อมาเราได้ทรมานเธอ กระทำให้หมดพยศ พรรณนาผลแห่งการให้ทาน และให้ตั้งอยู่ในทาน เธอจึงหันกลับมาให้ทานอีกครั้งหนึ่ง ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุรูปนี้เคยได้รับพรในสำนักของเราว่า แม้ได้น้ำมาเล็กน้อยเพียงซองมือหนึ่ง หากมิได้ให้ทาน จักไม่ดื่มน้ำนั้น ด้วยผลแห่งการที่ได้รับพรในสำนักของเรานี้ เธอจึงเป็นผู้มีอัธยาศัยในการให้ทาน
คนยากจน vs คนจนยาก
ทำไมคนบางคนถึงยากจน แต่ทำไมคนบางคนถึงจนยาก รวยแล้วรวยอีก ...อะไรเป็นสาเหตุที่อยู่เบื้องหลังสิ่งนี้
1 กัป หรือ 1 มหากัป คิดเป็นกี่ปี ?
เรียนรู้เกี่ยวกับระยะเวลา 1 มหากัป และความหมายที่เกี่ยวข้อง พร้อมการเปรียบเทียบระยะเวลาที่มีในไตรปิฎก